เวลา

  หน้าแรก
 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
  ประวัติห้องสมุด
 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
    บุคลากร
 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
  ระบบสืบค้น
 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
  ประวัติ ดร.สง่า สรรพศรี
 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
  ห้องภาพ
 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
  สมุดเยี่ยมชม
 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -


๐ ประวัติห้องสมุด ๐
  • ในปี พ.ศ.2540 ได้มีการจัดตั้ง มูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.สง่า สรรพศรี เพื่อการวิจัย เนื่องจากศาสตราจารย์
    ดร.สง่า สรรพศรี ได้เล็งเห็นความสำคัญที่จะต้องมีศูนย์วิจัยและพัฒนาของสวนพฤกษศาสตร์ เพื่อให้เป็น
    สวนพฤกษศาสตร์ที่มีความสมบูรณ์ตามหลักสากล และเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และเมื่อในวันที่ 9 กันยายน 2543 ได้มีพิธีเปิดศูนย์วิจัยและพัฒนาขึ้นที่สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์

    ศูนย์วิจัยและพัฒนานี้เป็นหัวใจสำคัญยิ่งดังที่ ดร. วีระชัย ณ นคร ผู้อำนวยการองค์การสวนพฤกษศาสตร์
    ได้เขียนไว้ในเอกสารในวันเปิดงานศูนย์วิจัยและพัฒนาสง่า สรรพศรี ณ สวนพฤกษศาสตร์
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ข้อความตอนหนึ่งเขียนไว้ว่า

    … ศูนย์กลางงานด้านพฤกษศาสตร์ที่เป็นพลังของสวน ได้แก่ หอพรรณไม้ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติและอาคาร
    ศูนย์วิจัย กลุ่มอาคารนี้จึงได้รับขนานนามว่า ศูนย์วิจัยและพัฒนาสง่า สรรพศรี เพื่อให้เป็นเกียรติประวัติและระลึกถึงคุณงามความดีที่ท่านได้อุทิศทุ่มเทให้กับสวนพฤกษศาสตร์ ศูนย์วิจัยฯ แห่งนี้จะเปรียบเสมือน
    วิสัยทัศน์ของท่าน
  • ศูนย์วิจัยและพัฒนาสง่า สรรพศรี แบ่งส่วนงานภายใน เป็น 4 ส่วนคือ


  1. ส่วนวิจัยงานวิจัยพื้นฐาน

  2. - งานวิจัยเพื่อการอนุรักษ์
    - งานวิจัยเพื่อพัฒนา

  3. ส่วนหอพรรณไม้

  4. - งานอนุกรมวิธาน
    - งานทะเบียนพันธุ์พืช
    - งานการจัดการตัวอย่าง

  5. ส่วนพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ

  6. - งานนิทรรศการ
    - งานส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
    - งานพิพิธภัณฑ์แมลง

  7. ส่วนวิชาการ

  8. - งานศูนย์ข้อมูลพืช
    - งานบริการทางวิชาการ
    - งานห้องสมุด


The Botanical Garden Organization Sanga Sabhasri Library,Thailand
All rights reserved