วารสารพฤกษศาสตร์ไทย สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
     
แสดงบทความ
 
ชื่อบทความ(ไทย): การขยายพันธุ์ต้นดาดหินไทยโยค (Begonia vagans Craib) พืชมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ของประเทศไทยในหลอดทดลอง
ชื่อบทความ(Eng): In vitro propagation of Begonia vagans Craib, a vulnerable plant of Thailand
ชื่อผู้แต่ง(ไทย): นัฏวรรณ ทิพวรรณ์ วิทยาพร พรชุติ โรจนกร เชิงปัญญา อัจฉรา เมือครุฑ อัญชีรา วิบูลย์จันทร์ และ งามนิจ ชื่นบุญงาม*
ชื่อผู้แต่ง(Eng) : NATTAWAN THIPPAWAN, WITAYAPORN PORNCHUTI, RODJANACORN CHUENGPANYA, ATCHARA MUANGKROOT, UNCHERA VIBOONJUN & NGARMNIJ CHUENBOONNGARM*
เลขที่หน้า: 127  ถึง 145
ปี: 2563
ปีที่: 12
ฉบับที่: 2   แสดงบทความทั้งหมดของฉบับ
บทคัดย่อ:

     งานวิจัยนี้ศึกษาวีธิการขยายพันธุ์ ในหลอดทดลองต้นดาดหินไทยโยค (Begoniavagans Craib) ซึ่งเปนพืชที่พบเฉพาะในประเทศไทยและมีสถานะเปนพืชที่มีความเสี่ยงตอการสูญพันธุโดยนําใบของพืชชนิดนี้มาแชในสารตานเชื้อจุลชีพ กอนนําไปฟอกฆาเชื้อผิวและเลี้ยงในหลอดทดลองหลังจากไดตนพืชปลอดเชื้อแล้ว จึงนำไปศึกษาความเหมาะสมของชิ้นพืชและสูตรอาหารในการเพิ่มปริมาณต้นดาดหินไทยโยคต่อไป โดยนำต้นพืชปลอดเชื้อที่มีความสูง 4–6 เซนติเมตร และมีใบขนาด  ตารางเซนติเมตร มาตัดเอาส่วนกานใบและใบ โดยตัดกานใบใหมีความยาว เซนติเมตร และตัดแบงครึ่งใบตามขวางออกเปนสวนบนและสวนล่างจากนั้นชิ้นพืชเริ่มต้นทั้ง 3 สวนไปเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร Murashige และ Skoog (MS) ที่มีเบนซลอะดีนิน (N6-benzyladenine: BA) เข้มข้น 0 0.1 0.5 และ 1.0 มิลลกรัม/ลิตร ร่วมกับกรดแนฟทาลีนอะซีตีก (napthaleneaceticacid: NAA) เขมขน 0 และ 0.1 มิลลิกรัม/ลิตร นาน 6 สัปดาหพบวาชิ้นพืชทั้ง สวนมียอดใหม่เจริญขึ้นจากชิ้นพืชทดลองโดยตรง  อย่างไรก็ตาม ใบสวนล่างเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่มี BA เขมขน 1.0 มิลลิกรัม/ลิตร รวมกับ NAA เขมขน 0.1 มิลลิกรัม/ลิตร เกิดยอดใหมมากที่สุด คือ ร้อยละ 100 และมีจานวนยอดใหม่เฉลี่ยต่อชิ้นพืชสูงสุด 60.67 + 8.20 ยอด ดังนั้นชิ้นส่วนและสูตรอาหารนี้ จึงเปนชิ้นพืชและสูตรอาหารที่เหมาะสมตอการขยายพันธุตนดาดหินไทรโยคในหลอดทดลองยอดที่เกิดจากชุดการทดลองนี้ถูกตัดแยกออกเปนกอขนาดเล็กใหมีจํานวน 10 ยอดต่อกอ และนำไปเลี้ยงบนอาหาร สงเคราะห์สูตร MS ที่ปราศจากการเติมสารควบคุมการเจริญเติมโตของพืชนาน 4 สัปดาห์ เพื่อชักนำให้เกิดการยืดยาวของยอดและการเจริญของรากใหมใหเปนตนพืชที่สมบูรณจากนั้นนําตนพืชที่สมบูรณมาปลูกบนวัสดุปลูกที่แตกต่างกัน 2 ชุด คือ ชุดที่ 1 ประกอบดวย 1 ดินผสม : 1 กาบมะพร้าวสับและชุดที่ 2 ประกอบด้วย 1 ดินผสม : กาบมะพราวสับ : 1 หินสคอเรียและเลี้ยงในสภาพโรงเรือนนาน 4 สัปดาห เพื่อศึกษาวัสดุปลูกที่เหมาะสมตอการนําตนดาดหินไทรโยคออกปลูกผลการศึกษาพบวาวัสดุปลูกชุดที่ 2 มีอัตราการรอดชีวิตของตนพืชมากที่สุดที่รอยละ 60 ผลที่ได

     This research aimed to establish the in vitro propagation protocol for Begonia vagans Craib, a Thailand endemic plant with at risk of extinction. Leaves of this plant were submerged in antimicrobials before sterilizing their surfaces and culturing in in vitro condition. After axenic plantlets were achieved, the suitable explant type and medium for multiplication B. vagans were investigated. The in vitro plantlets with height of 4–6 cm and having leaf area of 9 cm 2 were selected. Petioles at the length of 1 cm were excised and the leaves were transversely excised into top-half and bottom-half. These three starting explants types were cultured onto Murashige & Skoog (MS) medium augmented with the combination of 0, 0.1, 0.5 and 1.0mg/L N6 -benzyladenine (BA) and 0 and 0.1 mg/L napthaleneacetic acid (NAA) for 6 weeks. The results found that new shoots directly regenerated from all explant types. However, the maximum shoot induction rate at 100% with the average maximum number of new shoots per explant at 60.67 + 8.20 shoots were found from the bottom-half of leaves which cultured on MS medium supplemented with 1.0 mg/L BA and 0.1 mg/L NAA. Therefore, this explant type including withthis medium were suitable for propagation of B. vagans in vitro. Regenerated shoots from this treatment were separated into small clump of shoot, 10 shootsper clump, and were cultured onto plant growth regulator free MS medium for 4 weeks to initiate shoot elongation and new root formation for obtaining the completed plantlets. Then, these plantlets were planted on 2 set of growing media; the first was 1 soil mixtures 1 : coconut husk chips and the second was1 soil mixtures : 1 coconut husk chips : 1 scoria, and were acclimatized in greenhouse for 4 weeks to examine the proper growing media for ex vitro of B. vagans. The result revealed that the plantlets planting on the second set of growing media exhibited 60% of survival rate. The presented outcomes of this study did not only provide the advantage for ex situ conservation of B. vagans, but it may be applied as a tool for mass propagation of this plant for use inthe ornamental plant industry in the future.


download count: 35
 



    right-buttom
     
 

There are 195 online

All rights reserved The Botanical Garden Organization,Thailand