วารสารพฤกษศาสตร์ไทย สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
     
แสดงบทความ
 
ชื่อบทความ(ไทย): การถ่ายยีนเข้าสู่ต้นเข้าพรรษาทางเงิน (Globba substrigosa) โดยใช้ Agrobacterium tumefaciens
ชื่อบทความ(Eng): Agrobacterium-mediated transformation of Globba substrigosa
ชื่อผู้แต่ง(ไทย): สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล วิลาสินี ลีทวีทรัพย์ กัญจนา แซ่เตียว และ งามนิจ ชื่นบุญงาม
ชื่อผู้แต่ง(Eng) : SAROJ RUCHISANSAKUN, WILASINEE LEETHAWEESUP, KANJANA SAETIEW NGARMNIJ CHUENBOONNGARM
เลขที่หน้า: 155  ถึง 162
ปี: 2553
ปีที่: 2
ฉบับที่: พิเศษ   แสดงบทความทั้งหมดของฉบับ
บทคัดย่อ:         ต้นเข้าพรรษาทางเงิน (Globba substrigosa Wall. ex Baker) เป็นพืชที่มีศักยภาพในการพัฒนาเปน็ พืชเศรษฐกิจแตเ่ นื่องจากยังไมมี่การศึกษาวิธีการที่เหมาะสมในการถา่ ยยีนเขา้ สูต่ น้ เขา้ พรรษาทางเงิน รายงานนี้จึงศึกษาความเหมาะสมของความเข้มข้นของ Agrobacterium tumefaciens สายพันธุ์ EHA105 และเวลาที่ใช้ในการปลูกถ่ายเชื้อเพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาการถ่ายยีนของต้นเข้าพรรษาทางเงินต่อไป ในการศึกษาใช้ A. tumefaciens ที่มีพลาสมิด pBI121 ซึ่งมียีน neomycin phosphotransferase (nptII) เป็นยีนเครื่องหมายเพื่อการคัดเลือก และยีน -glucuronidase (gus)เป็นยีนรายงานผล ในความเข้มข้น 3.33, 5 และ 10% (v/v) จากการเลี้ยงเชื้อในอาหารสูตร YM และนำมาเขย่ารวมกับยอดอ่อนเป็นเวลา 15 และ 30 นาที จากนั้นนำยอดอ่อนมาเพาะเลี้ยงในอาหารวุ้นสูตร MS ที่มี acetosyringone เข้มข้น 50 mM เป็นเวลา 2 วัน ก่อนนำมาเลี้ยงในอาหารคัดเลือกที่มี kanamycin เป็นเวลา 6 สัปดาห์ จากการนำต้นที่รอดชีวิตมาทำการตรวจสอบการแสดงออกของยีน gus พบว่าการใช้ A. tumefaciens สายพันธุ์ EHA105 ที่เข้มข้น 5% และเขย่ารวมกับยอดอ่อนนาน 15 นาที ทำให้ได้ต้นที่มียีนมากที่สุดคือ 63.16%
        Globba (Globba substrigosa Wall. ex Baker) is a promising ornamental plant that could benefit from further development using modern biotechnology. In this study, we developed the Agrobacterium-mediated transformation protocol into globba. The A. tumefaciens strain EHA105 harboring the binary vector pBI121 containing the neomycin phosphotransferase gene (nptII) as a selectable marker and the -glucuronidase (gus) gene as a reporter was cultured in YM medium. The bacteria was diluted to 3.33%, 5%, and 10% (v/v) with MS and 50 mM acetosyringone and incubated with in vitro propagated young globba shoots at 15 and 30 minutes. Treated shoots were selected in MS medium containing 50 mg/l kanamycin for 6 weeks. GUS bioassay was used to observe gus gene expression in leaves of transgenic
plants. The results revealed that the highest percentage of transformed globba (63.16%) was obtained when in vitro globba shoots were inoculated with A. tumefaciens at the concentratio of 5% for 15 minutes.
download count:
 



    right-buttom
     
 

There are 154 online

All rights reserved The Botanical Garden Organization,Thailand